Bachelor

ประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 และ นานาชาติ ครั้งที่ 1

(ช่วงเช้า) เมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน มมร.อส. ได้จัดประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 และนานาชาติ ครั้งที่ 1 โดยวันของการนำเสนอผลงานวิชาการ พร้อมทั้งหน่วยงานรวม 13 แห่ง โดยในช่วงเช้าเป็นการแสวนา โดย Ven. Sudhiro Bhikku / Ven. Dr. Divulapelesse Wimalanada Thero / Prof.Dr. I Gede Sutarya / Prof. Dr. Tiwi Etika ในเรื่อง THE DEVLOPMENT OF WISDOM AND MORALITY WITH BUDDHIST PRINCIPLES THROUGH INTEGRATION OF MODERN SCIENCES จากนั้นเป็นการรับมอบโล่เจ้าภาพร่วมทั้ง 13 …

ประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 และ นานาชาติ ครั้งที่ 1 Read More »

สวดมนต์ถวายพระพร สมเด็จพระสังฆราช 2568

นักศึกษาภาคปกติบรรพชิต-คฤหัสถ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ร่วมกิจกรรมสวดมนต์ถวายพระพร เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุครบ 98 พรรษา สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก 26 มิถุนายน 2568

กำหนดการพิธีถวายมุทิตา พระสุธีวชิรธรรม, ผศ.ดร.

กำหนดการพิธีถวายมุทิตาจิต พระสุธีวชิรธรรม, ผศ.ดร. รองอธิการบดี มมร. วิทยาเขตอีสาน ดำรงตำแหน่ง เจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น (ธรรมยุต) และ พระอุปัชฌาย์ ประเภทวิสามัญ วันพุธที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2568 เวลา 16.30 น.ณ วัดศรีจันทร์ พระอารามหลวง

การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 และนานาชาติ ครั้งที่ 1

หลักการและเหตุผล โลกในศตวรรษที่ 21 กำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างพลิกผัน (Disruption) ในทุกมิติ ทั้งด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ดังจะเห็นได้ชัดเจนจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ผ่านมา ซึ่งได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อวิถีชีวิตของผู้คนทั่วโลก ทำให้ทุกภาคส่วนต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอด โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษาที่ต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนอย่างฉับพลัน ในขณะที่สังคมกำลังเผชิญกับวิกฤตการณ์หลายด้าน ทั้งปัญหาสิ่งแวดล้อม ความขัดแย้งทางสังคม ปัญหาเศรษฐกิจ และความเสื่อมถอยทางศีลธรรม การพัฒนาที่มุ่งเน้นแต่ความเจริญทางวัตถุโดยละเลยมิติทางจิตใจและปัญญา ได้ก่อให้เกิดปัญหาที่ซับซ้อนและยากต่อการแก้ไข การศึกษาจึงเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน ดังจะเห็นได้จากองค์การสหประชาชาติ (UN) ได้กำหนดให้การศึกษาเป็นหนึ่งในเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนแห่งสหัสวรรษ 2030 (Sustainable Development Goals: SDGs) ข้อที่ 4 ว่าด้วยการส่งเสริมการศึกษาที่เท่าเทียมและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุกคน ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ที่กำหนดกรอบและแนวทางการพัฒนาเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” ในสถานการณ์เช่นนี้ พระพุทธศาสนาในฐานะองค์ความรู้และภูมิปัญญาที่ทรงคุณค่าที่สืบทอดมากว่า 2,500 ปี จึงมีบทบาทสำคัญในการเป็นเครื่องมือพัฒนามนุษย์ให้มีปัญญาและคุณธรรม สามารถเผชิญกับความท้าทายในโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วได้อย่างมั่นคง หลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนามีความลึกซึ้ง ครอบคลุมทั้งการพัฒนาตนเองและการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข โดยเน้นการพัฒนามนุษย์อย่างเป็นองค์รวมผ่านหลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) ซึ่งเป็นกระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนามนุษย์ให้เป็นผู้รู้ …

การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 และนานาชาติ ครั้งที่ 1 Read More »

วิถี มมร สู่ความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก : เอกสารประกอบการสอน

เอกสารประกอบการสอน GE1001 วิถี มมร สู่ความเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก MBU Way to Thai and Global Citizens มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ดาวน์โหลดไฟล์เอกสาร

มนุษย์กับการใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล: เอกสารประกอบการสอน

เอกสารประกอบการสอน GE1002 มนุษย์กับการใช้ชีวิตในยุคดิจิทัล Human and Living in Digital Age  มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ดาวน์โหลดไฟล์เอกสาร

ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา : เอกสารประกอบการสอน

เอกสารประกอบการสอน BU5001 ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา History of Buddhism มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ดาวน์โหลดไฟล์เอกสาร

การส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารสังคมสงเคราะห์

สำนักงานอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และ นวัตกรรม สาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ขอประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งบทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาชีพสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย