ประเด็นวิจัยและบางส่วนจากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา

 

หน้าหลัก วิทยานิพนธ์ อาจารย์ นักศึกษา วิชาการ   ตำรา หลักสูตร แผนการศึกษา แฟ้มภาพ

 

มมร. อส. ..ส่งเสริมและสนับสนุนการทำวิจัยในลักษณะชุดโครงการวิจัยเกี่ยวกับ "การศึกษา/ทักษะศตวรรษที่ 21"  และให้ความสำคัญกับ "การบริหารการศึกษาระดับสถานศึกษา เน้นการเสริมสร้างคุณภาพการสอนเพื่อการเรียนรู้ / เน้นการพัฒนาครูที่มีผลสืบเนื่องต่อการพัฒนานักเรียน"

 ทำไมให้ความสำคัญกับประเด็นเกี่ยวกับการศึกษา/ทักษะศตวรรษที่ 21 ?

Churches (2008), Eaton (2011), Heick (2012), Kamat (2012), Kay (2012), Latham (n.d.), March (2012), Prenksy (2009), St George's College (n.d.), The Journal (2000) และ Waugh (2011) ให้ทัศนะสอดคล้องกันว่า การบริหารการศึกษาในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ยังเป็นไปตามกระบวนทัศน์ศตวรรษที่ 20 การที่จะเปลี่ยนเป็นกระบวนทัศน์ศตวรรษที่ 21 นั้น เป็นเรื่องไม่ง่าย เพราะแม้ในยามที่นึกถึงภาพการศึกษา คนก็ยังคงมองเห็นเป็นภาพการศึกษาแบบเดิมอย่างที่เคยเป็นมา แต่แม้จะเป็นเรื่องยาก ก็ต้องมุ่งการเปลี่ยนแปลงสู่กระบวนทัศน์ศตวรรษที่ 21 

ทำไมให้ความสำคัญกับการบริหารการศึกษาในระดับสถานศึกษา เน้นเพื่อเสริมสร้างคุณภาพการสอนและการเรียนรู้ / เน้นการพัฒนาครูที่มีผลสืบเนื่องต่อการพัฒนานักเรียน ?

Kashyap (n.d.) ให้ทัศนะถึง ขอบเขตการบริหารการศึกษาว่ามีหลายมิติ คือ 1) ครอบคลุมทุกระดับการศึกษา คือ ก่อนประถมศึกษาหรือก่อนวัยเรียน ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลายหรือหลังมัธยมศึกษา และอุดมศึกษา 2) ครอบคลุมการศึกษาทุกรูปแบบ เช่น การศึกษาอย่างเป็นทางการ การศึกษานอกระบบและการศึกษาผู้ใหญ่ การศึกษาทั่วไป อาชีวศึกษา การศึกษาพิเศษ การศึกษาครู การศึกษาแบบบูรณาการ และการศึกษาด้านเทคนิคและวิชาชีพ รวมถึงวิศวกรรม การแพทย์ และการศึกษาคอมพิวเตอร์  3) รวมทุกประเภทและกลยุทธ์ของการจัดการ เช่น การบริหารแบบประชาธิปไตย การบริหารแบบเผด็จการ 4) ครอบคลุมการจัดการ (Management) เช่น การวางแผน การจัดงาน การสั่งการ การประสานงาน การกำกับดูแล การควบคุม และการประเมิน และ 5) เกิดขึ้นในระดับต่าง ๆ คือ ระดับส่วนกลาง ระดับภูมิภาค ระดับจังหวัด ระดับอำเภอ ระดับเขตพื้นที่ และระดับสถานศึกษา ในระดับต่าง ๆ เหล่านี้ารบริหารการศึกษาระดับสถานศึกษา (คือ โรงเรียน วิทยาลัย มหาวิทยาลัย หรือชื่อเรียกอื่นๆ) มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นฐานปฏิบัติที่เป็นจริง ที่ส่งผลลัพธ์ต่อผลผลิตทางการศึกษาที่สำคัญ คือ ผู้เรียน ดังนั้น ในการบริหารการศึกษาในระดับสถานศึกษาจึงประกอบด้วยกิจกรรมและโปรแกรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ "การสอน" และ "การเรียนรู้" เพื่อ "คุณภาพของผู้เรียน"

Amadi (2008), Bamte (n.d.), Dhammei (2022), Kochhar (2011), Nasib (2018) และ Zakir (2012) ให้ทัศนะสอดคล้องกันว่า การบริหารการศึกษามีองค์ประกอบสำคัญสองส่วน คือ “วิถีปฏิบัติ-จุดหมาย (Means-End)” ส่วนที่เป็น “จุดหมาย (End)” เป็นวัตถุประสงค์ที่คาดหวังให้ได้ผลผลิตจากระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ คือ "ผู้เรียน" และส่วนที่เป็น “วิถีปฏิบัติ (Means)” เป็นกระบวนการเพื่อการปฏิบัติให้บรรลุผลในวัตถุประสงค์ที่คาดหวัง เพื่อให้มีอิทธิพลต่อการเสริมสร้างคุณภาพ "การสอน" และ "การเรียนรู้" ที่จะส่งผลต่อเนื่องถึง "คุณภาพของผู้เรียน"

 

PAR 6 บทความจากประเด็นวิจัยของนักศึกษา
เบญญาภา Responsibility Skills
ชารีวัฒน์ Learning Environments
จิรศักดิ์ Visionary Leadership
สราวุฒิ Leadership Skills
พระพิเชษฐ์

Creative Thinking Skills

R&D 6 บทความจากประเด็นวิจัยของนักศึกษา                                                    Modules
ณภพ Media Literacy Skills                         http://online.anyflip.com/okgwj/hltb/mobile/
แมนมิตร Adaptation Skills                    https://anyflip.com/vibw/micv/
สุขฤทัย Innovative Skills                    https://shorturl.at/moFP2
ณัฐกุล Information Literacy Skills            https://online.pubhtml5.com/avtq/noot/
พระจักรพัชร์ Critical Thinking Skills          http://online.anyflip.com/okgwj/ojqm/mobile/
พระปลัดเล็ก Self-directed Learning Skills        http://online.anyflip.com/okgwj/lgyv/mobile/
พระอำพล Collaborative Skills                 https://online.anyflip.com/okgwj/segl/mobile/
พระเกริกเกียรติ Innovative Skills                         http://online.anyflip.com/okgwj/buxu/mobile/
PAR 7 บทความจากประเด็นวิจัยของนักศึกษา
ระครูประดิษฐ์บุญธรรม 21st century school
พระมหาปฐมภูมิ 21st Century Classroom
พระยุทธศักดิ์ Leadership Skills
สุภาวิณี 21st century learner skills
จีระยุทธ์ Educational Leadership Capabilities
วราวุธ Teachers' capability for the 21st century
ศิริวัฒนา Effective Teacher Skills
อมรรัตน์

Global Leadership Skills

R&D 7 บทความจากประเด็นวิจัยของนักศึกษา                                             Modules
มนตรี Inspirational skills                                     https://bit.ly/3lodd9I
หนึ่งฤทัย Innovative Skills  https://bit.ly/3TpG7CQ
ชวลิต Project management skills  https://anyflip.com/ghmpw/jolv/
รพีพรรณ student's 21st century skills  https://bit.ly/3ntwwPA
บัญชา Successful students   https://bit.ly/3UsPYIN
คชา Change Leadership Skills https://bit.ly/3L9sRQL
สุปัน Effective Team Work  https://bit.ly/3U2CxPl
R&D 8 บทความจากประเด็นวิจัยของนักศึกษา         Modules
สุพรรษา  Flipped Classroom Learning Management  https://bit.ly/3W4TQPb  
วัทธิกร Innovative Work Behavior  https://bit.ly/3IG8olm
บุญเทียน 21st Century Teacher Skills  https://bit.ly/3IFpXBX
ระณัฐวุฒิ Pro-social Behavior  https://bit.ly/3Ztw9mn
ประภาภัท Critical Thinking Skills  https://bit.ly/3GWXF4
พระปลัดแสงสุรีย์ Curiosity Skills  https://bit.ly/3XiC1gA
สุพัฒน์  Design Thinking Skills  https://shorturl.at/axC69
ธิดาวรรณ Accountability Skills https://bit.ly/3CEfzGK
ฉลิมชัย Active Learning  https://bit.ly/3CEnhkn
ศิริธร  Competency-Based Learning https://bit.ly/3CHdKZH
กิตติชัย Collaborative Learning  https://bit.ly/3GVCv6R
ดวงใจ Collaborative Leadership Skills  https://bit.ly/3W4VdgC
พนิดา Teamwork Skills  https://bit.ly/3CEFkqi
R&D 9 บทความจากประเด็นวิจัยของนักศึกษา
ธิดารัตน์ Empathy Skills Module
ปรีดาวรรณ Coaching Skills Module
สุพัตตา

Student's 21st century skills

Module
สุพรรษา 21st century learners Module
สมาน Growth Mindset Module
สมพร Positive school climate Module
วรัญญู Problem Solving Skills Module
วสุพล 21st-century teacher Module
จันทร์เพ็ญ Positive Thinking Skills Module
เมตตา Critical Thinking Skills Module
ฉวี Early Childhood Development Center Module
     
   

 

 

 

 

 

updated ----  7/6/2022